Wednesday, October 22, 2008

ควรมี การแก้ไขที่สร้างสรรค์


Doctor of Khmer studies


ตั้งแต่อาณาจักรภพ Angkor ได้รับความทดถอยในศตวรรษที่๑๓ ดินแดนของอาณาจักร Angkor ครอบคลุมประเทศไทยทั้งหมด ณ ปัจจุบันนี้ แล้วตั้งแต่นั้นมาสยามไม่คอยยุติการขยายดินแดนของตนมายังประเทศเขมรเลย
ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้ปกครองกัมพูชา และเป็นผู้ยุติการขยายดินแดนนี้ โดยฝรั่งเศส และไทย ได้ลงนามในอนุสัญญา ในค.ศ.๑๙๐๔ เพื่อกำหนดพรมแดนกัมพูชา-ไทยให้เสร็จสิ้น ในค.ศ.๑๙๐๗ สนธิสัญญา ฝรั่งเศส-สยาม คือสยามได้คืน ๓จังหวัดที่ตนบริหารให้แก่เขมร แล้วสนธิสัญญานี้ได้แสดงอย่างชัดเจนเพิ่มเติมอีกว่า อนุสัญญาในค.ศ.๑๙๐๔ คือเกี่ยวข้องการกำหนดพรมแดน และการทำหลักเขตแดน ในค.ศ.๑๙๐๘ คณะกรรมการร่วมฝรั่งเศส-สยาม ที่เป็นผลมาจากสนธิสัญญานี้คือมีหน้าที่กำหนดพรมแดนบนแถวเขาพระวิหาร และได้กำหนดอย่างชัดเจนว่าปราสาทพระวิหาร และพื้นที่รอบปราสาทตั้งเหนือดินแดนของกัมพูชา โดยอ้างจากแผนทีเขาดงรัก
โดยกัมพูชาได้รับการป้องกันเป็นเวลานานจากฝรั่งเศสที่เป็นผู้ปกครอง ประเทศไทยได้ยอมรับเส้นเขตแดนร่วมในข้อตกลงร่วมกันนี้ ในค.ศ.๑๙๒๕ ฝรั่งเศส-สยามได้ลงนามในสนธิสัญญามิตรภาพ ในมาตรา ๒ แจ้งว่า “ภาคีลงนามยอมรับ และรับร้องความเคารพซึ่งกันและกัน ตามพรมแดนที่ได้กำหนดในดินแดน ที่ อนุโลม และอ้างอิง โดยข้อกำหนดในข้อตกลง ที่แจ้งไว้ ก่อนหน้านี้” ในค.ศ.๑๙๒๖ อนุสัญญาแม่น้ำโขง ที่แจ้งในมาตรา ๒ ยืนยันอีกในสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๒๕ แล้วในค.ศ.๑๙๓๗ สนธิสัญญามิตรภาพใหม่อีกอันหนึ่ง ได้แจ้งอีกครั้งเกี่ยวกับข้อกำหนดในสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๒๕ คือเกี่ยวข้องกับพรมแดน ในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ค.ศ. ๑๙๔๖ หลังจากประเทศไทยเป็นพันมิตรกับญี่ปุ่น ได้บริหาร ๓จังหวัดของเขมรอีกครั้ง แล้วในข้อตกลงการแก้ไขปัญหาฝรั่งเศส-สยาม หลังจากนั้นก็มีการยอมรับสนธิสัญญาในค.ศ. ๑๙๓๗ โดยคณะกรรมการรวบร่วมฝรั่งเศส-สยามถือว่าข้อตกลง ค.ศ.๑๙๐๗ เกี่ยวข้องกับพรมแดนระหว่างสยาม-กัมพูชา ไม่สามารถรื้อฟื้นอีกครั้งได้
ค.ศ. ๑๙๕๔ เมื่อกัมพูชาได้รับเอก ทหารไทยได้เข้ามาบริหารปราสาทพระวิหาร และบริเวณรอบปราสาท ต่อมาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. ๑๙๖๒ ตามข้อเสนอของกัมพูชา ศาลโลกได้วินิจฉัย และยืนยันอีกครั้งว่าอธิปไตยของกัมพูชาที่เกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร และบริเวณรอบปราสาท โดยอนุโลมไปยังเส้นพรมแดนที่ได้กำหนดที่ผ่านมา ก็ต้องยอมรับอีกครั้ง ตามสนธิสัญญาอย่างต่อเนื่อง แล้วจนมาถึงตอนนี้ยังไม่มีการประท้วงแต่อย่างใดจากภาคีไทย “ศาลตัดสินอนุโลมตามรายงานของสนธิสัญญา และการประกาศ อนุโลม ไปยังเส้นเขตแดนที่กำหนดบนแผนทีในพื้นที่พิพาท (หน้าที่ ๓๕ ในคำวินิจฉัย)” แล้วคำวินิจฉัยนั้นยืนยันว่าประเทศไทยต้องถอนกำลังทหาร และตำรวจทั้งหมด หรือทหารพรานทั้งหลายที่ไทยเองได้ส่งมาตั้งฐานในปราสาท และบริเวณรอบเหนือดินแดนของกัมพูชา (หน้าที่ ๓๗) ในคำวินิจฉัย ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.๑๙๖๒ ประเทศไทยยอบรับตามคำวินิจฉัยของศาลโลก แล้วมิได้ฟ้องอุทรในระยะเวลา ๑๐ปี ที่เป็นระยะเวลาที่ประเทศไทยสามารถฟ้องร้องได้ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.๑๙๖๗ นาย Thanat Khoman รัฐมนตรีว่าการต่างประเทศของไทยประกาศว่า “ประเทศไทยมิได้ประท้วงแต่อย่างใดเกี่ยวกับดินแดนกัมพูชา ท่าที่ของไทยถือว่ามันไม่ใช่การทะเลาะบนพรมแดนกับกัมพูชา หมายความว่าไทยได้เคารพเป็นประจำในสนธิสัญญาที่ได้ลงนามกับฝรั่งเศส ในสมัยที่ฝรั่งเศสมีอำนาจเป็นผู้ปกครองกัมพูชา” ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.๒๐๐๐ กัมพูชา และไทยได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ เกี่ยวกับการกำหนด และทำหลักเขตแดน ระหว่างประเทศทั้งสอง โดยความรับผิดชอบในการเคารพสนธิสัญญา และอนุสัญญาที่ได้ลงนามไว้ แล้วทุกแผนทีที่ได้พิมพ์คือปฏิบัติตามสนธิสัญญา และอนุสัญญา (มาตรา ๑ จ) ในค.ศ. ๒๐๐๑ ประเทศกัมพูชาได้เสนอเป็นทางการการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกของยูเนสโก (UNESCO) ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.๒๐๐๓ กัมพูชา และไทยลงนามบนเอกสาร
ในหัวข้อที่ว่า แบบแผนการงาน และแผนการใหญ่สำหรับการปัดบันหลักเขตแดนทางบกร่วมระหว่างกัมพูชา-ไทย หรือ Term of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between the Kingdom of Cambodia and the Kingdom of Thailand (TOR) เอกสารนี้ทำขึ้นโดยอ้างไปถึง อนุสัญญาณ ค.ศ.๑๙๐๔ สนธิสัญญาณ ค.ศ.๑๙๐๗ และอ้างถึงแผนทีทั้งหมด และอ้างถึงบันทึกความเข้าใจ ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. ๒๐๐๐ ถ้าเราพูดเกี่ยวกับข้อตกลงของ MOU และข้อผูกมัดของ TORนี้ ในทางตรงกันข้ามประเทศไทยได้ทำแผนทีขึ้นแต่ฝ่ายเดี่ยวรวมมีเส้นเขตแดน ซึ่งล่ามเข้ามาในพื้นที่ของปราสาทพระวิหาร ซึ่งตรงกันข้ามอย่างแน่นอนจากแผนผังที่ได้ถือเป็นทางการในค.ศ. ๑๙๐๘
วันที่๑๘ เดือนมิถุนายน ค.ศ.๒๐๐๘ กัมพูชาและไทยได้ลงนามในคำแถลงการณ์ร่วมหนึ่งว่า ไทยสนับสนุนการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกขององค์การยูเนสโก ที่เสนอโดยกัมพูชา แล้วการขอขึ้นทะเบียนนี้ทำขึ้นไม่ได้เกี่ยวข้องการปัดบัดหลักเขตแดนที่แจ้งขึ้นโดย MOUในค.ศ.๒๐๐๐ และใน TOR ค. ศ.๒๐๐๓ แต่อย่างใด
ในวันที่๒๑ เดือนมิถุนายน ค.ศ.๒๐๐๘;๘ นายพล Prem Tinsulanonda ที่ปรึกษาเอกชนขอพระมหากษัตริย์ไทย แสดงการสนับสนุนผู้ประท้วงไทยที่คัดคว้างการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร ในวันที่๑ เดือนกรกฎาคม ค.ศ.๒๐๐๘ รัฐบาลไทยก็ได้ยกเลิกการสนับสนุนของตนเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนนี้ ในวันที่๗ เดือนกรกฎาคม ค.ศ.๒๐๐๘ คณะกรรมการมรดกโลกได้ขึ้นทะเบียนประสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก รัฐมันตรีไทยได้พยายามปฏิเสธการขอขึ้นทะเบียนนี้ แต่ในที่สุดไทยปราชัย ในวันที่๑๕ เดือนกรกฎาคม ค.ศ.๒๐๐๘ กองทัพไทยละเมิดดินแดนประเทศกัมพูชา แล้วในความหมายนี้คือละเมิดสนธิสัญญา อนุสัญญา และเอกสารร่วมกัน ที่ได้ลงนามโดยประเทศไทย
นับจากนั้นมา กองทัพไทยที่มีจำนวนและกองกำลังมาก เหนือกว่ากองกำลังของกัมพูชามากเหลือเกิน เป็นต้นเหตุในการกระตุ้นโดยอาวุธครั้งแล้วครั้งเหล่า ตามจุดต่างๆตามพรมแดนในอาณาเขตกัมพูชา การพบกันระหว่างรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศของทั้งสองประเทศ ได้หลีกเหลี่ยงสิ่งที่เลวร้ายที่สุดโดยตลอด แต่ตอนนี้ก็ยังไม่ได้แก้ไขอะไรได้เลย
ตั้งแต่รัฐประหารทางทหารไทยปี ๒๐๐๖ ที่เป็นรัฐประหารครั้งที่ ๑๘ ในระยะเวลา ๘๐ปี ประเทศไทยเคยเจอวิกฤตการณ์อย่างนักแน่น จากการเรียกร้องของนักชาตินิยม สาเหตุมาจากในการรวบร่วมของประชาชน และการตากแยกภาคในอย่างลึกของนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง
ประเทศกัมพูชามีความเจริญอย่างช้าๆ หลังจากสงครามภายในระยะเวลา ๓๐ปี ซึ่งเป็นตัวประกันอย่างง่ายได้ของไทยที่มีประชาชนเกือบ ๗๐ลานคน ได้แสดงการดูหมิ่นเหยียดหยามถึงประเทศที่เล็กกว่า อย่างกัมพูชาที่มีประชาชนน้อยกว่าถึงห้าเท่า
สถานทูตต่างๆได้รับรู้เอกสารทั้งหมดที่ได้เกล่ามาข้างต้นนี้แล้ว หลายประเทศที่เป็นคู่ลงนามในข้อตกลงฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๙๑ เพื่อยุติความขัดแย้งในกัมพูชา ซึ่งหลายประเทศนั้นต้องมีความรับผิดชอบประเทศกัมพูชา ไทยเองก็เป็นคู่ลงนามในข้อตกลงนั้นเช่นกัน ก็เหมือนสมาชิกถาวรทั้งห้าของสภาความมั่งคงของสหประชาชาติ ซึ่งเข้าใจอย่างชัดเจนในการเคารพ อธิปไตย เอกราช บูรณภาพดินแดน และไม่ล่วงละเมิดดินแดนของกัมพูชา ปัจจุบันนี้ความเคลื่อนไหวของประชาชนในกรุงเทพฯกลุ่มหนึ่งได้ยกเลิกความไว้วางใจของนักการเมืองอีกแล้ว เช่นเดียวกันกับผู้นำกองทัพที่ได้พูดว่า “ตนพร้อมแล้วที่จะทำสงครามกับกัมพูชา”
ถึงเวลา หรือยังที่เขาต้องหลีกเลี่ยงอะไรที่เลวร้ายที่สุดโดยปฏิบัติอะไรที่เขาเรียกว่าการแก้ไขที่สร้างสรรค์ ตามปกติเขาแตงแต่ยินโด่งดังในสันนิบาต และในองค์ประชุม?
ถ้าไม่เช่นนั้น วาสนาน่าสงสารของกัมพูชา จะต้องเกิดขึ้นอีกเหมือนเมื่อปี ๑๙๗๐ ปี๑๙๗๕ และปี๑๙๗๙ โดยทุกโอกาสทั้งหมดนั้นเป็นปัญหาระหว่างประเทศที่ให้ค่า เป็นกำไร ขาด สำหรับผู้นำระหว่างประเทศมากกว่าการป้องกัน ทุกข์ยากของกัมพูชา